Page 110 - หนังสืออนุสรณ์ 45 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P. 110
เครือข่ยควมร่วมม่อทังภยในและนอกประเทศ
1. กรจัด้ฝึึกอบรมระด้ับนนชติด้้วยทุนสนับสนุนจกรัฐบลสหรัฐฯ
ผู้ลงานสําคัญท่แสดงศักยภาพของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้โดดเด่นระดับนานาชาติ ในทศวรรษท่ ผู้่านมาค่อ โครงการ “Clinical, Public Health and Behavioral Oral Health Research Training” อันเป็นความร่วมม่อระหว่างคณะฯ กับมหาวิทยาลัยวอชิงตัน (University of Washington) ประเทศสหรัฐอเมริกา และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยทุนสนับสนุนจาก National Institutes of Health (NIH) ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2549 - 2570 โดยม่จุดมุ่งหมายเพ่อพัฒนาทันตบุคลากรใน เอเช่ยตะวันออกเฉ่ยงใต้ ให้ม่ความสามารถในการทําวิจัยทางคลินิกและทันตสาธารณสุข ซูึงปัจจุบันน่ คณะฯ ได้รับทุนสนับสนุนอย่าง ต่อเน่องในการจัดโครงการฝ่ึกอบรมแล้วกว่า 3 ระยะโครงการ
โครงการน่ เกดิ จากความรเิ รมิ ของ Professor Timothy DeRouen อดต่ คณบดค่ ณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วอชงิ ตนั (หัวหน้าโครงการ) รศ. ทพ.ประท่ป พันธุมวนิช อด่ตคณบด่คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ รศ. ดร. ทพญ.วรานชุ ปติ พิ ฒั น์ อดต่ คณบดค่ ณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ โดยไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การฝ่กึ อบรมจาก NIH เป็น 3 ระยะ โครงการระยะท่ 1 (พ.ศ. 2549 - 2554) ได้รับทุนสนับสนุนจํานวน 739,327 เหร่ยญสหรัฐ จากความสําเร็จของโครงการ ในระยะท่ 1 โดยผูู้้ท่ผู้่านการอบรมแล้วสามารถผู้ลิตผู้ลงานวิจัยท่ม่คุณภาพ และได้รับรางวัลวิจัยจากสถาบันต่าง ๆ มากมาย ดังนัน NIH จึงได้อนุมัติทุนสนับสนุนโครงการต่อโดยเพิมวงเงินให้สูงขึน โครงการระยะท่ 2 (พ.ศ. 2554 - 2561) ได้รับการสนับสนุนเป็นจํานวนเงิน สูงถึง 1,137,106 เหร่ยญสหรัฐ เพ่อขยายขอบเขตโครงการและจํานวนทุนไปยังทันตแพทย์จากประเทศในทว่ปเอเช่ยตะวันออกเฉ่ยงใต้
หลังจากท่ได้จัดโครงการระยะท่ 2 คณะฯ มุ่งเน้นท่จะเป็นศูนย์กลางในการจัดโครงการฝ่ึกอบรมด้านการวิจัยดังกล่าว โดย ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร และฝ่ึกอบรมอาจารย์ให้ม่ความพร้อมในการเป็นวิทยากรและท่ปรึกษาทางด้านวิจัย จึงได้ขอทุนสนับสนุน ในการพัฒนาโครงการฯ และในปี พ.ศ. 2561 - 2562 เป็นท่น่ายินด่ว่า คณะฯ ในฐานะหัวหน้าโครงการ โดยความร่วมม่อกับคู่ความ ร่วมม่อเดิม ได้รับทุนจาก NIH ต่อยอดตามโครงการ “Developing Clinical and Public Health Research Training in Oral Health for Southeast Asia” เพอ่ พฒั นาโครงการฝ่กึ อบรมดา้ นการวจิ ยั และสรา้ งเครอ่ ขา่ ยการวจิ ยั ในภมู ภิ าคเอเชย่ ตะวนั ออกเฉย่ งใตใ้ หก้ วา้ งขวางขนึ อย่างม่ประสิทธิภาพและยังย่น
จากความสําเร็จอย่างยิงในการจัดโครงการท่ผู้่านมา ทําให้โครงการระยะท่ 3 (พ.ศ. 2565 - 2570) คณะฯ โดย รศ. ดร. ทพญ.วรานชุ ปติ พิ ฒั น์ ซูงึ เปน็ หวั หนา้ โครงการ และผู้รู้ ว่ มโครงการฯ รศ. ดร. ทพญ.นวรตั น์ วราอศั วปติ รศ. ดร. ทพ.จรนิ ทร์ ปภงั กรกจิ รศ. ดร. ทพ.ฑิ่ฆายุ พลางกูร จอร์นส และคณะ ได้รับทุนสนับสนุนอย่างต่อเน่องจาก National Institute of Dental & Craniofacial Research (NIDCR) และ Fogarty International Center (FIC), National Institutes of Health (NIH) จํานวนสูงถึง 1.2 ล้านเหร่ยญสหรัฐ (ประมาณ 40 ล้านบาท) เพ่อดําเนินการจัดการฝ่ึกอบรมและทําวิจัย ภายใต้โครงการ “Clinical and Public Health Research Training in Oral Health for Southeast Asia” เป็นเวลา 5 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2565 – 2570 ให้กับทันตบุคลากรจากทังในประเทศและ ต่างประเทศในทว่ปเอเช่ยตะวันออกเฉ่ยงใต้ ม่การจัดรูปแบบการฝ่ึกอบรม แบ่งเป็น 5 ระดับ ประกอบด้วย 1) การจัดฝ่ึกอบรมนานาชาติ ดา้ นการวจิ ยั ทางทนั ตแพทยศาสตร์ (International Workshop on Clinical Research Methods in Oral Health) 2) การสนบั สนนุ คณาจารย์
108 45 ปี แห่งความภาคภูมิใจ กับการรับใช้สังคม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2522 - 2567