Page 117 - หนังสืออนุสรณ์ 45 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P. 117

   คณะเภสชั ศาสตร์ (ผู้เู้ ชย่ วชาญดา้ นการใชย้ าและยาสมนุ ไพรในผู้สู้ งู อาย)ุ คณะเทคนคิ การแพทย์ (ผู้เู้ ชย่ วชาญดา้ นกายภาพบําบดั ผู้สู้ งู อาย)ุ และคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ (ผู้อู้ อกแบบทอ่ ยอู่ าศยั และสถานพยาบาลสําหรบั ผู้สู้ งู อายตุ ามหลกั Universal Design) นอกจากน่ บคุ ลากร ของทางคณะ ยังได้รับการจัดสรรทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก และทุนดูงานด้านผูู้้สูงอายุ ณ สถาบันท่ม่ช่อเส่ยงด้านทันตกรรม ผู้สู้ งู อายใุ นตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ Niigata University, Hiroshima University และ Tohoku University (Japan), The University of Texas Health Science Center at Houston (USA) เพอ่ นําองคค์ วามรมู้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นางานดา้ นทนั ตกรรมผู้สู้ งู อายทุ ค่ ณะอยา่ งตอ่ เนอ่ ง
3. งนบริกรทันตกรรมผู้้้ป่วยปกแหว่งเพด้นโหว่และควมพิกรแต่กําเนิด้ของใบหน้และกะโหลกศีรษะ
ม่การจัดตังศูนย์ให้การบริการและสาธิตการดูแลทางทันตกรรมในผูู้้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ และความพกิ ารแตก่ ําเนดิ ของใบหนา้ และกะโหลกศร่ ษะ โดยดําเนนิ การในลกั ษณะของการบรกิ าร ศกึ ษา วจิ ยั และสาธิตรูปแบบของการบริการในลักษณะขององค์รวมแบบสหวิทยาการ (Iinterdisciplinary Treatment) โดยการประสานงานและร่วมม่อระหว่างบุคลากรของโครงการฯ และโครงการศูนย์การดูแลผูู้้ป่วย ปากแหว่งเพดานโหว่และความพิการแต่กําเนิดของใบหน้าและกะโหลกศ่รษะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ม่วัตถุประสงค์ดังต่อไปน่
1. เป็นศูนย์กลางการประสานงานระหว่างโครงการฯ และโครงการศูนย์การดูแลผูู้้ป่วย ปากแหวง่ เพดานโหวแ่ ละความพกิ ารแตก่ ําเนดิ ของใบหนา้ และกะโหลกศร่ ษะ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ โดยได้ รบั การสนบั สนนุ การดําเนนิ การจากมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ คณะแพทยศาสตร์ และคณะทนั ตแพทยศาสตร์
2. สง่ เสรมิ การทํางานแบบสหวทิ ยาการและความรว่ มมอ่ แบบทม่ สหสถาบนั ทงั ในระดบั ประเทศ และระดับนานาชาติ
3. เพ่อพัฒนาระบบให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยการบริการประชาชน ชุมชน และหน่วยงานและองค์กรท่เก่ยวข้องเป็น เคร่อข่ายในการดูแลและส่งต่อผูู้้ป่วย
4. เพอ่ พฒั นาระบบการรกั ษาพยาบาลทางทนั ตกรรมและกําหนดแนวทางการรกั ษาผู้ปู้ ว่ ยปากแหวง่ เพดานโหวท่ เ่ กย่ วขอ้ งกบั ทางทนั ตแพทยท์ กุ สาขา ซูงึ เปน็ แบบแผู้นระยะยาวแบบสหสาขาวทิ ยาการ สําหรบั ผู้ปู้ ว่ ยปากแหวง่ เพดานโหวแ่ ละความพกิ ารของใบหนา้ และศ่รษะโดยร่วมม่อของบุคลากรการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ และโรงพยาบาลศร่นครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. เพ่อพัฒนาบุคลากรในการนําเสนอ และแลกเปล่ยนความรู้ในการดูแลผูู้้ป่วย โดยจัดให้ม่การประชุมคลินิกผูู้้ป่วยอย่าง สมําาเสมอและต่อเน่องประมาณเด่อนละ 1 ครังเพ่อเป็นการประเมินคุณภาพและพัฒนาการดูแลผูู้้ป่วยระหว่างท่มงาน
6. เพ่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผูู้้ป่วย เพ่อใช้เพ่อการวิจัยพัฒนาการรักษา และแนวทางการป้องกันอันเป็นประโยชน์โดยตรง ต่อผูู้้ป่วยในอนาคต และสามารถนําไปสู่การวิจัยท่ม่มาตรฐานระดับชาติ จนเกิดการสร้างองค์ความรู้ใหม่
7. เพ่อจัดหาแหล่งเงินทุนเพ่อสนับสนุนโครงการสําหรับการดําเนินการทังในระยะสันและระยะยาวร่วมกับเงินงบประมาณ บางส่วนจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และจัดตังกองทุนทันตกรรมผูู้้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ สนับสนุน ด้านค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลแก่ผูู้้ป่วยท่ยากจนด้วย
8. เป็นการประชาสัมพันธ์ เผู้ยแพร่ช่อเส่ยงและศักยภาพของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
45 ปี แห่งความภาคภูมิใจ กับการรับใช้สังคม 115 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2522 - 2567
        





















































































   115   116   117   118   119