Page 48 - หนังสืออนุสรณ์ 45 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P. 48
(หร่อ ม.6 ในปัจจุบัน) ข้อสอบเด่ยวกันทัวประเทศ ต้องติดบอร์ด 50 คนแรกเท่านัน สถานภาพของพวกเรา 3 คน อยู่ห้องกลาง ๆ ท้าย ๆ ของโรงเรย่ นเตรย่ มอดุ มศกึ ษา ไมม่ ท่ างจะตดิ บอรด์ 50 คนแรก จงึ ไมม่ ส่ ทิ ธไิ ดไ้ ปสอบชงิ ทนุ ตา่ งประเทศ รฐั บาลนวิ ซูแ่ ลนด์ กําหนดเงอ่ นไข ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทําใหพ้ วกผู้มไดโ้ อกาสครบั หลงั จากเรย่ น High School ไปได้ 1 ปี ไดถ้ ามเจา้ หนา้ ทท่ ด่ แู ลพวกเรา (Student Officer) วา่ ไมม่ ร่ นุ่ ใหมม่ าเลยหรอ่ เขาตอบวา่ มาตรฐานการศกึ ษาของอส่ านตาํา กวา่ ในกรงุ เทพฯ ไมร่ วู้ า่ พวกเธอจะเรย่ นไหวไหม จงึ ขอดผูู้ ลการเรย่ น ของพวกเธอ สัก 2 เทอม (ท่นันเร่ยนปีละ 3 เทอม) พอรู้ว่าไป จึงเสนอทุนพิเศษกับกรมวิเทศสหการ (ซูึงเป็นกรมท่ดูแลเก่ยวกับ ความช่วยเหล่อจากรัฐบาลต่างประเทศ) เขาตอบว่า “เส่ยดายเหล่อเกิน ท่กรมวิเทศสหการตอบมาว่าไม่ม่เวลาจัดหาเด็กให้” จึงม่เฉพาะรุ่นท่จบมัธยมปลายจากเม่องไทยมาเร่ยนต่อระดับปริญญาตร่ และระดับหลังปริญญา (โท - เอก) สรุปทุนพิเศษท่ว่าน่ ม่พวกผู้มเป็นรุ่นแรกและรุ่นเด่ยวครับ
เร่ยนจบธันวาคม พ.ศ. 2517 และเริมรับราชการ 1 เมษายน พ.ศ. 2518 สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซูึงเปิดคณะแพทยศาสตร์ เม่อปี พ.ศ. 2516 และม่โครงการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ (แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุข และเภสัชกร) ผู้มเป็นทันตแพทย์คนแรกของ มข. (อิฐก้อนแรก) ศ. นพ.กว่ ทังสุบุตร คณบด่คณะแพทยศาสตร์ และ ผู้อู้ ํานวยการโครงการศนู ยฯ์ ใหผู้้ มไปทํางานหาประสบการณด์ า้ นคลนิ กิ มใ่ หเ้ ลอ่ ก 3 แหง่ คอ่ โรงพยาบาลขอนแกน่ ศนู ยอ์ นามยั แมแ่ ละเดก็ และโรงพยาบาลจิตเวช ผู้มเล่อกโรงพยาบาลจิตเวช ส่วนหนึงเพราะห้องทําฟัันติดแอร์ (ซูึงเป็นของหายากมากในสมัยนัน) ทํางานท่นัน 1 ปี พ.ศ. 2519 ผู้มเปิดแผู้นกทันตกรรมท่โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Hut Hospital) ตรงข้ามโรงเร่ยนสาธิตศึกษาศาสตร์ หร่อคณะนิติศาสตร์ในปัจจุบัน
ศ. นพ.กว่ มอบหมายให้ผู้มเตร่ยมการเข่ยนโครงการจัดตังคณะทันตแพทยศาสตร์ มข. ในปี พ.ศ. 2520 ได้ศึกษารายละเอ่ยด ข้อมูลประกอบคําขอจัดตังศึกษาหลักสูตรคณะทันตแพทยศาสตร์ในไทยและของต่างประเทศเพ่อร่างหลักสูตร ซูึงต้องม่หัวข้อรายวิชา รายละเอ่ยดแต่ละวิชา จํานวนหน่วยกิต งบประมาณดําเนินการและครุภัณฑิ์ อัตรากําลัง คณาจารย์ ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา ฯลฯ
วันท่ 21 - 23 เมษายน พ.ศ. 2521 กระทรวงสาธารณสุข จัดสัมมนาวางแผู้นระยะยาว “สุขภาพช่องปากและฟัันด่ถ้วนหน้า” พ.ศ. 2543 ท่โรงแรมรถไฟั อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบค่ร่ขันธ์ ผู้มและอาจารย์หมอกว่ ได้รับเชิญไปร่วมสัมมนาด้วย งานน่พวกเรา ได้พบปะพูดคุย แลกเปล่ยนข้อคิดเห็นกับ ศ. ทพ.อิศระ ยุกตะนันทน์ คณบด่คณะทันตแพทยศาสตร์ มหิดล ด้วย
ผู้ลสรุปจากการสัมมนาครังนัน ม่อยู่ข้อหนึงว่า “ควรจะม่การผู้ลิตทันตบุคลากรอ่กระดับหนึง เพ่อให้ทันกับความต้องการ ของประชาชน” เพราะยงั ขาดแคลนทนั ตแพทยอ์ ยา่ งยงิ ทนั ตแพทยม์ เ่ พย่ ง 1,350 คน (พ.ศ. 2521) ในจํานวนนอ่ ยใู่ นกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑิล กว่า 50% (800 คน) (ขอย่นยันเลขใบอนุญาตฯ ของผู้มค่อ ท.1055 1 เมษายน พ.ศ. 2519) สมควรจะผู้ลิตทันตบุคลากร อ่กระดับหนึง อย่างเร่งด่วน นันค่อท่มาของหลักสูตร 4 - 2 - 2 ซูึงนักศึกษาทันตะ มข. รุ่น 1 - 4 รู้จักด่ ซูึงผู้มเป็นผูู้้ออกแบบโครงสร้างหลักสูตร เรย่ น 4 ปไี ด้ วท.บ. (ทนั ตกรรม) ชอ่ วา่ ทนั ตบณั ฑิติ ทําไดท้ กุ อยา่ ง ยกเวน้ Crown & Bridge และจดั ฟันั ไปทํางาน 2 ปี แลว้ กลบั มาเรย่ นตอ่ อ่ก 2 ปี เพ่อรับปริญญา ท.บ. ทังน่เพ่อตอบสนองข้อคิดเห็นส่วนหนึงของงานสัมมนาฯ ดังกล่าวข้างต้น รายละเอ่ยดหลักสูตร 4 - 2 - 2 ในสูจิบัตร พิธ่เปิดรูปหล่ออนุสรณ์ ศ. ทพ.อิศระ มข. 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
46
45 ปี แห่งความภาคภูมิใจ กับการรับใช้สังคม
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2522 - 2567